บรรณานุกรมงานของปรีดี พนมยงค์

เรียงตามลำดับก่อนหลังของการเสนอครั้งแรก

ลำดับ ปีที่เสนอครั้งแรก รายชื่องาน
1 2469 “การเรียนกฎหมายในฝรั่งเศสโดยย่อ”บทบัณฑิตย์เล่ม 4ตอน11 (มิถุนายน2469)
2 2470 “Do sort des Societes de Personnes en cas des Deces d’un Associe”.Paris:Librairie de Jurisprudence Ancienne et moderne,1927
3 2470 คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนบริษัทและสมาคม (แสดงที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม เมื่อพ.ศ.2470,2471และ2472) โรงพิมพ์อักษรนิติพิมพ์แจกในงานฌาปนากิจศพนายเสียง พนมยงค์ ณ วัดเทพศิรินทราวาศ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2479
4 2471 “คำนำ”นิติสาส์น์ปีที่1 เล่ม 1 พ.ศ.2471
5 2471 “คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (มาตรา1-56) ” นิติสาส์น ปีที่ 1 เล่มที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 พ.ศ.2471
6 2471 “คำอธิบายเศรษฐกิจวิทยา”นิติสาส์น ปีที่ 1 เล่มที่1 พ.ศ.2471
7 2471 “คำนำ”นิติสาส์น์ปีที่1 เล่ม 2 พ.ศ.2471
8 2471 “กฎหมายการคลัง”นิติสาส์น์ปีที่1 เล่ม 2 พ.ศ.2471
9 2471 “นิติกรรมอำพราง”นิติสาส์น์ปีที่1 เล่ม 2 พ.ศ.2471
10 2471 ปาฐะเรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับการลงอาชญาผู้กระทำผิดกฎหมาย, พระนคร : โรงพิมพ์นิติสาส์น,2471
11 2471 “คำแนะนำโดยย่อเกี่ยวกับพระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าขาย อันกะทบถึงความปลอดภัยหรือผาสุกแห่งสาธารณชน” นิติสาส์น ปีที่1 เล่ม 5-6 พ.ศ.2471
12 2471 “เกล็ดประมวลกฎหมายเรื่องพระเจ้านโปเลออง(นโปเลียน) กับประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส” บทบัณฑิตย์ เล่ม 5 ตอน 9(พฤศจิกายน 2471)
13 2472 “คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์(มาตรา 57 – 143 )”นิติสาส์น ปีที่ 2 เล่ม 1-12 พ.ศ.2472
14 2472 “คำอธิบายกฎหมายระวางประเทศ แผนกคดีบุคคลว่าด้วยข้อความทั่วไป” นิติสาส์น ปีที่ 2 เล่ม 1-3 พ.ศ.2472
15 2472 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 2 เล่ม, พระนคร : นิติสาส์น, 2472
16 2473 “คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์(มาตรา 144 – 193 )”นิติสาส์น ปีที่ 3 เล่ม 4 ,6 พ.ศ.2473
17 2473 “คดีปกครองในประเทศฝรั่งเศส” บทบัณฑิตย์ เล่ม 6 ตอน 3 (กรกฎาคม 2473)
18 2473 “สังเขปหัวข้อเรื่องสิทธิพิเศษในการมีสัญชาติของบุคคลซึ่งเกิดในกรุงสยาม อันเป็นบุตรของพลเมือง ในอาณาเขตต์อาณัติแทนสันนิบาตชาติ” บทบัณฑิตย์ เล่ม 6ตอน 4 (พฤศจิกายน 2473)
19 2473 “การกู้เงินของรัฐบาล” นิติสาส์น ปีที่ 3 เล่ม 9 พ.ศ.2473
20 2473 “คำนำในการเพิ่มเติม” และ “เพิ่มเติมหนังสือบันทึกฯ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 ตอน 2” นิติสาส์น ปีที่ 3 เล่ม 9 พ.ศ.2473
21 2473 “คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 (มาตรา 453-467)” นิติสาส์น ปีที่ 3 เล่ม 9 พ.ศ.2473
22 2473 ประชุมกฎหมายไทย 17 เล่ม, พระนคร,นิติสาส์น, 2473
23 2473 “ฐานะของชาวรุสเซียผู้ถูกถอนสัญชาติ (ฉะเพาะที่เกี่ยวกับปัญหาเรื่องความสามารถของบุคคล ในกฎหมาย ระวางประเทศ แผนกคดีบุคคล)” บทบัณฑิตย์ เล่ม 6 ตอน 5 (กุมภาพันธ์ 2473)
24 2474 คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล (แสดงที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม เมื่อ พ.ศ.2474 ) มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพ นายเสียง พนมยงค์ ณ วัดเทพศิรินทราวาศ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2479
25 2474 “คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3” นิติสาส์น ปีที่ 4 เล่ม 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10 พ.ศ.2474
26 2474 “คำอธิบายกฎหมายปกครอง” นิติสาส์น ปีที่ 4 เล่ม 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10 , 11 , 12 พ.ศ.2474
27 2474 “สิทธิของรัฐในทรัพย์มฤดกตามกฎหมายโซเวียต” บทบัณฑิตย์ เล่ม 6 ตอน 10 (กุมภาพันธ์ 2474 )
28 2475 “คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 (มาตรา 518 – 522 )” นิติสาส์น ปีที่ 5 เล่ม 1 , 2 และ 10 พ.ศ.2475
29 2475 “บันทึกเรื่องพะยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือ” บทบัณฑิตย์ เล่ม 7 ตอน 2 (พฤษภาคม 2475 )
30 2475 “คำอธิบายกฎหมายปกครอง” (บรรยายร่วมกับพระสารสาส์นประพันธ์นิติสาส์น ที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม) ใน คำอธิบายกฎหมายปกครอง โดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรมและพระสารสาส์นประพันธ์นิติสาส์น พระนคร : 2475(ปรีดีบรรยายช่วงวันที่ 24 พฤษภาคม – 31 มิถุนายน 2475)
31 2475 “คำอธิบายกฎหมายปกครอง” นิติสาส์น ปีที่ 5 เล่ม 6 , 7 และ 8 พ.ศ.2475
32 2475 คำอธิบายกฎหมายปกครอง พระนคร : โรงเรียนกฎหมาย, กระทรวงยุติธรรม, 2475
33 2475 “ประกาศคณะราษฎร”
34 2475 “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475”
35 2475 “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ”
36 2475 ปาฐกถาเรื่องพระราชบัญญัติว่าด้วยเรื่องระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2476” (แสดง ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อ วันที่ 2 มกราคม 2476) ใน ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายปกครอง : ข้อความทั่วไปในวิชากฎหมายปกครอง และปาฐกถาเรื่องพระราชบัญญัติว่าด้วยเรื่องระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม
37 2477 “คำนำ” ของหนังสือ ประวัติศาสตร์ช่วงสมัยการปฏิวัตร์ฝรั่งเศส โดย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา, 2477 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 19 ตุลาคม 2477)
38 2478 “สุนทรพจน์ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ทางวิทยุกระจายเสียง เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พุทธศักราช 2478” ใน สุนทรพจน์ พระนคร : สำนักโฆษณาการ, 2475 (20 มกราคม 2478)
39 2479 “คำนำ” ในหนังสือ พระบรมราโชวาทและพระราชหัตเลขาสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสิรินทรมหาจุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชทานแด่อำมาตย์ พระยาสุริยานุวัตร,พระนคร : ศรีกรุง, 2479 (คุณหญิงลิ้นจี่ สุริยานุวัตร พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ มหาอำมาตย์เอก พระสุริยานุวัตร ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาศ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479)
40 2479 ปาฐกถา เรื่อง “การพระพุทธศาสนาในต่างประเทศ” แสดงวันมาฆบูชา ณ พุทธธรรมสมาคม กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2479
41 2483 THE KING of the White Elephant, Bangkok : Thammasat University, 1940.(ปรีดีเขียนคำนำลงวันที่ 11 May 1940)
42 2486 “คำนำ” ของหนังสือ หลักเสถสาตร เล่ม 1 โดยทองเปลว ชลภูมิ, พระนคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, 2486 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2486)
43 2487 คำปราสัยของพนะท่านปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเหร็ดราชการแทนพระองค์ กล่าวต่อนายกรัถมนตรี เมื่อ 8 สิงหาคม 2487 พระนคร : กรมโคสนาการ,2487
44 2487 “คำนำ” (อุทิศแด่ท่านขำ ณ ป้อมเพชร์) ในหนังสืออธิบายอาชญาวิทยา (ตอนที่ว่าด้วยทัณฑวิทยาทั่วไป) พระนคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธัมสาตรและการเมือง, 2487 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 22 ตุลาคม 2487)
45 2488 “คำปราศรัยในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คราว เปิดประชุมสภา เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2488” ใน รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
46 2488 “คำปราศรัยต่อผู้แทนพลพรรคเสรีไทยเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2488” ตีพิมพ์ใน เนตร เขมะโยธิน, งานใต้ดินของพันเอกโยธี,กรุงเทพ : เขษมบรรณกิจ,2510
47 2489 “คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาส์นพลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม” ใน เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย, กรุงเทพ : สันติธรรม,2517 (ปรีดีให้การต่อศาล เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2489)
48 2489 “นโยบายของรัฐบาลปรีดี พนมยงค์” (แถลงต่อสภาฯ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2489) ในรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
49 2489 “สุนทรพจน์ของนายปรีดี พนมยงค์ แสดงในรัฐสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2489” ในรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
50 2489 “นโยบายของรัฐบาลปรีดี พนมยงค์” (แถลงต่อสภาฯ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2489)ในรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
51 2489 ความเป็นอนิจจังของสังคม, ปาล พนมยงค์ จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพคุณหญิงเพ็งชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา ตุลาคม 2500
52 2501 “ความเห็นในเรื่องการขุดคอคอดกระ” เสนอผ่านสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (จดหมายเขียน กุมภาพันธ์ 2501)ตีพิมพ์ใน สุพจน์ ด่านตระกูล, ชีวิตและงานของ ดร.ปรีดี พนมยงค์, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพ : ประจักษ์การพิมพ์, 2514
53 2507 “จดหมายถึงท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม” (เขียนที่นครกวางตุ้ง 16 สิงหาคม 2507) ตีพิมพ์ ใน สุพจน์ ด่านตระกูล,ชีวิตและผลงานของ ดร.ปรีดี พนมยงค์
54 2510 หลักเบื้องต้นแห่งการถ่ายทอดศัพท์ต่างประเทศมาเป็นศัพท์ไทยสยาม, ม.ป.ท.,2510
55 2513 “ปรัชญาคืออะไร” (คัดจากหนังสือ ปรัชญาแห่งสังคม ที่ปรีดีเรียบเรียงขึ้น และแจกเป็นของชำร่วยในโอกาสครบรอบ 70 ปี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2513), กรุงเทพ : นีติเวชช์,2513
56 2513 “สำเนาคำฟ้อง ลงวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2513 เรื่องละเมิดปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและหมิ่นประมาทโดยใส่ความทำให้โจทก์เสียหาย ความแพ่งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ โดย นายวิชา กันตามระ ผู้รับมอบอำนาจโจทก์กับบริษัทสยามรัฐ จำเลยที่ 1,ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จำเลยที่ 2 และคนอื่นๆ” จัดพิมพ์โดย นายทิม ภูริพัฒน์ ธนบุรี : มีชีพกิจการพิมพ์, 2513
57 2513 “คำอุทิศ แด่ พลตำรวจตรี พัฒน์ นิลวัฒนานนท์” ใน หลวงประดิษฐ์มนูธรรม, คำอธิบายกฎหมายปกครอง, พิมพ์ในโอกาสพิธีพระราชทานเพลิงศพ พลตำรวจตรี พัฒน์ นิลวัฒนานนท์ (ปรีดีเขียนลงวันที่ 8 ตุลาคม 2513)
58 2514 “คำสัมภาษณ์ของนายปรีดี พนมยงค์ ให้แก่สำนักข่าวเอ.เอฟ.พี. ที่กรุงปารีส เมื่อ 22 กรกฎาคม 2514” ใน สุพจน์ ด่านตระกูล (รวบรวม) ศิษย์อาจารย์, กรุงเทพ : สันติธรรม, ม.ป.ป.
59 2514 “คำปราศรัยของนายปรีดี พนมยงค์ ต่อธรรมศาสตร์บัณฑิต เนติบัณฑิต นักสันติภาพที่ได้มาเยี่ยม ณ บ้านพักชานกรุงปารีส 28 กรกฎาคม 2514” ใน สุพจน์ ด่านตระกูล (รวบรวม) ศิษย์อาจารย์
60 2514 “สัมภาษณ์ปรีดี พนมยงค์ โดยสัมฤทธิ์ อินทปันตีและน.อ.ศิริ พงศ์ทัต ร.น. ณ บ้านพักชานกรุงปารีส ฝรั่งเศส” ใน The Nation, August 16,1917.และสยามไทม์, 1 ตุลาคม 2514
61 2514 “จดหมายจากปารีสถึงผู้จัดทำ มหิดลสาร” ใน สุพจน์ ด่านตระกูล (รวบรวม) ศิษย์อาจารย์
62 2515 MA VIE MOUVEMENT?E ET MES 21 ANS D’EXIL EN CHINE POPULAIRE, France, 1972.
63 2515 “คำปรารภ” ใน ปรีดี พนมยงค์, บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง, จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทรและนายเปรื่อง ศิริภัทร์ ในโอกาสที่ระลึกวันเกิดอายุครบ 72 ปี ของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2515. กรุงเทพ : นีติเวชช์ 2515 (ปรีดี เขียนลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2515)
64 2515 “ความเป็นไปบางประการในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์…
65 2515 “คำนำในการพิมพ์ครั้งที่ 2” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์…(ปรีดีเขียนลงวันที่ 24 มิถุนายน 2515)
66 2515 บางเรื่องเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย, จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร เนื่องในโอกาส 24 มิถุนายน 2515. กรุงเทพ : นีติเวชช์, 2515 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 24 มิถุนายน 2515)
67 2515 “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับเอกภาพของชาติและประชาธิปไตย” วารสาร 19 สิงหาคม 2515 ของ ชุมนุมชาวธรรมศาสตร์ในอังกฤษ (ปรีดีเขียน เดือนสิงหาคม 2515)
68 2516 อนาคตของประเทศไทยควรดำเนินไปในรูปแบบใดปาฐกถาแสดงในการชุมนุมสนทนาที่สามัคคีสมาคม สมาคมนักเรียนไทยในอังกฤษ เสาร์ที่ 28 กรกฎาคม 2515, จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร. กรุงเทพ : นีติเวชช์, 2515
69 2516 จะมีทางไประชาธิปไตยโดยสันติวิธีหรือไม่,ปาฐกถาในงานประชุมประจำปีของนักเรียนไทยในสหพันธรัฐเยอรมัน, 30 สิงหาคม 2516, จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร. กรุงเทพ : นีติเวชช์, 2515
70 2516 แถลงการณ์ของนายปรีดี พนมยงค์ และคำเตือนสติผู้รักชาติ, รวบรวมโดย สุพจน์ ด่านตระกูล, กรุงเทพ : ประจักษ์การพิมพ์, 2516 (แถลงการณ์ ลงวันที่ 8 ตุลาคม 2516)
71 2516 จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม,กล่าวในงานสังสรรค์ชาวธรรมศาสตร์ในอังกฤษ ประจำปี 2516 จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร. กรุงเทพ : นีติเวชช์, 2516
72 2516 สำเนาจดหมายของนายปรีดี พนมยงค์ ตอบบรรณาธิการ “สามัคคีสาร” (วารสารของนักเรียนไทยในอังกฤษ) เรื่อง ขอทราบความเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ 14-15 ตุลาคม 2516 และ “สังคมสัญญา” วันศักดิ์สิทธิ์แห่งรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย, จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร, กรุงเทพ : นีติเวชช์, 2516. (จดหมายลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2516)
73 2516 ข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ต่อ ฯพณฯ สัญญาธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี เรื่องวิธีส่งเสริมให้ราษฎรสนใจประชาธิปไตย, จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร, ม.ป.ท., ม.ป.ป. (จดหมายลงวันที่ 8 ธันวาคม 2516)
74 2516 สำเนาจดหมายของนายปรีดี พนมยงค์ ถึง ฯพณฯ รองนายกฯ กับนายกรัฐมนตรีและรัฐบาล, จัดพิมพ์โดย นายชิต เวชประสิทธิ์, กรุงเทพ : ประจักษ์การพิมพ์, 2517 (จดหมายถึงรองนายกฯ ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2516, จดหมายถึงนายกฯ ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2516)
75 2517 “สัมภาษณ์ท่านปรีดีเกี่ยวกับประสบการณ์ชิลี โดยประทีป นครชัย” (บรรณาธิการนิตยสาส์น ส.น.ท.ฝ.สาร หรือ สมาคมนักเรียนไทยในฝรั่งเศสสาร) นิตยสาส์น ส.น.ท.ฝ.สาร วันที่ 1 มกราคม 2517
76 2517 คำตอบของนายปรีดี พนมยงค์ ต่อสัมภาษณ์ของ คลอเดีย รอสส์, จัดพิมพ์โดย นายชิต เวชประสิทธิ์, กรุงเทพ : ประจักษ์การพิมพ์, 2517 ฉบับภาษาอังกฤษ ใน Bangkok Post, January 13,1974
77 2517 “วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ” จัดพิมพ์โดย คณะบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ มหาราษฎร์, กรุงเทพ : จงเจริญ การพิมพ์, 2517 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 4 มีนาคม 2517)
78 2517 ความเป็นมาของชื่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย”,จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร, กรุงเทพ : นีติเวชช์, 2517 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 2 เมษายน 2417)
79 2517 “สัมภาษณ์ท่านปรีดี พนมยงค์ เกี่ยวกับปัญหาของประเทศไทย โดยเท่ห์ จงคดีกิจ,” นสพ.มหานคร 9-13 พฤษภาคม 2517 (สัมภาษณ์เดือน เมษายน 2517)
80 2517 “รำลึกคุณเฉียบ อัมพุนันทน์” ใน “มนุษยสังคมปรัชญาเบื้องต้น” (ตอนที่ 1) และบางเรื่องในนิตยสาร “สังคมสามัคคี” จัดเสนอผู้อ่านเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2501 โดยนายเฉียบ อัมพุนันทน์ อดีตหัวหน้าพรรคศรีอารยะเมตไตรย,หนังสืออนุสรณ์แด่นายเฉียบ อัมพุนันทน์ กรุงเทพ :ประจักษ์การพิมพ์, 2517,(ปรีดีเขียนลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2517)
81 2517 ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ, จัดพิมพ์โดย นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร, กรุงเทพ : นีติเวชช์, 2517 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2417)
82 2517 “เราจะต่อต้านเผด็จการได้อย่างไร” (ปาฐกถาและบทความของท่านปรีดี พนมยงค์ ในงานชุมนุมของสมาคมนักเรียนไทยในฝรั่งเศส ที่เมืองตูรส) กรุงเทพ : องค์การบริหารองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2517 (ปาฐกถาเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม2517)
83 2517 “สาส์นของนายปรีดีถึงอดีตเสรีไทย” เสียงใหม่ 9-10 สิงหาคม 2517 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 1 สิงหาคม 2517)
84 2517 “นายปรีดี พนมยงค์ ตอบคำสัมภาษณ์นายวีระ โอสถานนท์ เกี่ยวกับการใส่ร้ายของปฏิกิริยาสมุนเศรษฐกิจ ซี.ไอ.เอ.” นสพ.มหาราษฎร์
85 2517 “ความเป็นเอกภาพกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้” กรุงเทพ : สหพันธ์นิสิตนักศึกษาชาวปักษ์ใต้แห่งประเทศไทย, 2517
86 2517 “การวิเคราะห์สังคมสยามตามกฎธรรมชาติแห่งความขัดแย้งเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง (สสารธรรมประติการ และวิวรรตการ)” แสดงในที่ประชุมของนักเรียนไทยในสหพันธรัฐเยอรมัน
87 2517 “ผู้เกินกว่าราชา” ในลานโพธิ์ (หนังสือชุมนุมชาวธรรมศาสตร์ในสหราชอาณาจักร) ลอนดอน, 2517 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2517)
88 2517 “Seeking Admission to the U.N.” Bangkok Post ,December 1,1974.
89 2517 “The 1974 Coup and my escape.” Bangkok Post ,December 3,1974.
90 2518 “รัฐธรรมนูญฉบับบังกะหล่า” ใน รวมบทความบางเรื่องของนายปรีดี พนมยงค์ เกี่ยวกับระบบประชาธิปไตยและการร่างรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพ สันติธรรม, 2518 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 13 มกราคม 2518)
91 2518 “ทฤษฎี “โดมิโนส์” ประยุกต์ ในเอเซียอาคเณย์” ใน 41 ปีธรรมศาสตร์, กรุงเทพ : องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2518 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 28 พฤษภาคม, 2518)
92 2518 อนาคตของเมืองไทยกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อนบ้าน (ปาฐกถาในงานชุมนุมของนักเรียนไทยที่เมืองปัวร์ติเอร์ (ฝรั่งเศส) เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2518), กรุงเทพ : ประจักษ์การพิมพ์, 2518
93 2518 “สาส์นจาก ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยในวันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ครบรอบปีที่ 41, 27 มิถุนายน 2518” (ฉบับอัดสำเนา)
94 2518 ระบบสังคมนิยมและระบบคอมมิวนิสนิต์จะเหมาะแก่เมืองไทยหรือไม่, (คำปราศรัยในที่ประชุมสามัคคีสมาคม นักเรียนไทยในอังกฤษ สกอตแลนด์, 24,26 กรกฎาคม 2518) กรุงเทพ : พิฆเณศ,2518
95 2518 “ความป็นมาของศัพท์ไทย ปฎิวัติ รัฐประหาร วิวัฒน์ อภิวัฒน์” ใน หนังสือที่ระลึกชาวธรรมศาสตร์ในสหราชอาณาจักร ประจำปี 2518,(เป็นเรื่องต่อเนื่องจากการสนทนาในที่ประชุมสามัคคีสมาคม เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2518 ที่ เอดินเบอะเรอ สกอทแลนด์ ในเรื่อง ระบบสังคมนิยมและระบบคอมมิวนิสต์จะเหมาะสมแก่เมืองไทยหรือไม่)
96 2518 “ชาติคงมีอยู่” นิตยสาร เพื่อนไทย กันยายน 2518 ของสมาคมนักเรียนไทยในเยอรมัน (ปรีดีเขียนลงวันที่ 2 สิงหาคม 2518 )
97 2518 “สัมภาษณ์พิเศษปรีดี พนมยงค์ โดยสุวัฒน์ ทองธนากุล” นสพ. ประชาธิปไตย วันที่ 26 กันยายน 2518
98 2518 “ทางรอดของสังคมไทย” บทความให้คณะกรรมการนิสิต คระนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลงพิมพ์ใน หนังสือที่ระลึกวันที่ 10 ธันวาคม 2518,(ปรีดีเขียนลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2518)
99 2519 ที่เขาเรียกกันว่า “ลัทธิแก้” นั้น หมายความว่ากระไร และความเป็นมาแห่งลัทธิ “รีวิสชันนิสม์”, กรุงเทพ : สมาคมเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519.(ปรีดีเขียนลงวันที่ 15 มีนาคม 2519)
100 2519 “ภาคผนวกบทความเรื่องวิธีพิจารณาทางรอดของสังคมไทย” ใน รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ชี้ทางรอดของสังคมไทย, กรุงเทพฯ : มิตรสยาม, 2524 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 16 มีนาคม 2519)
101 2519 บันทึกข้อสังเกตและตอบคำถามนิสิตนักศึกษาที่ประสงค์เรียบเรียงวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับรัฐบาลบางสมัยของประเทศไทย, กรุงเทพ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 18 มิถุนายน 2519)
102 2519 “คำปราศรัยของนายปรีดี พนมยงค์ ต่อชาวธรรมศาสตร์ วันที่ 27 มิถุนายน 2519” ฉบับอัดสำเนา
103 2520 “Interview with Pridi Banomyong.” by Peter Limqueco in Journal of Contemporary Asia. Volumn 7.NO.3. October 1977. (สัมภาษณ์วันที่ 22 เมษายน 1977 ลงพิมพ์ ตุลาคม 1977)
104 2521 สำนาคำฟ้อง (ลงวันที่ 11 เมษายน 2521) เรื่องละเมิด หมิ่นประมาท ไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง เป็นที่เสียหายแก่ชื่อเสียงและเกียรติคุณของโจทก์, ความแพ่ง ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ โดยนายปาล พนมยงค์ ผู้รับมอบอำนาจโจทก์ กับนายรอง ศยามานนท์ จำเลยที่ 1, บริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำเลยที่ 2 และบริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำเลยที่ 3,2521 (คดีหมายเลขดำ ที่ 4226/2521)
105 2521 สำเนาคำฟ้องนายชาลี เอี่ยมกระสินธ์, คดีหมายเลขดำที่ 8612/2512
106 2521 หลักฐานสำคัญบางประการเกี่ยวกับสถานะของประเทศไทย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ภาค 1 จัดพิมพ์โดย นายปาล พนมยงค์, กรุงเทพ : อรุณการพิมพ์, 2521
107 2522 คำตัดสินใหม่ กรณีสวรรคต ร.8 โดยคำพิพากษาศาลแพ่ง,สำเนาคำฟ้องเรื่องละเมิด,หมิ่นประมาทความแพ่งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ โดยนายปาล พนมยงค์ ผู้รับมอบอำนาจ กับนายชาลี เอี่ยมกระสินธ์กับพวก จำเลย
108 2522 จดหมายของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงพระพิศาลสุขุมวิท เรื่อง หนังสือจดหมายเหตุของเสรีไทยเกี่ยวกับการปฎิบัติการในแคนดี นิวเดลฮี และสหรัฐอเมริกา กับภาคผนวกเรื่องเสรีไทยอีกบางประการ, กรุงเทพ : อมรินทร์การพิมพ์, 2522 (ปรีดีเขียน ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2522)
109 2522 Political and Military Tasks of the Free – Thai movement to regain national sovereignty and independence,Pridi Banomyong in his letter to Phar Bisal-Sukhumvit. Bangkok : American, 1979.
110 2522 “สงครามประสาท (War for Nerves) กับสงคราม โดยตัวแทน (War by Proxy) ยุคปรมาณู (นิวเคลียร์)” ใน หนังสือที่ระลึกวันธรรมศาสตร์ 15 ธันวาคม 2522 ของสมาคมธรรมศาสตร์แห่งแคลิฟอร์เนีย ส.ร.อ.
111 2522 “Pridi Through a looking glass” สัมภาษณ์โดยแอนโทนี่ พอลผู้สื่อข่าวนิตยสาร เอเซียวีค ประจำปารีส ใน Asiaweek. December 28, 1979 – January 4,1980.
112 2523 “บทสัมภาษณ์นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ‘เรื่องประเทศที่ชนะสงครามอย่างแท้จริงคือประเทศที่รักษาความเป็นกลางไว้ได้’ โดย สนพ.มติชนรายวัน ใน สนพ. มติชน รายวัน วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2523 (สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2523 ณ บ้านพักชานกรุงปารีส)
113 2523 “นายปรีดี พนมยงค์ ตอบสัมภาษณ์ ตะวันใหม่ เรื่อง “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย 2475 กับเหตุที่ทำให้ระบอบประชาธิปไตยยังไม่เกิดขึ้นอย่างแท้จริงจนทุกวันนี้” ใน นิตยสารตะวันใหม่ (สัมภาษณ์ เมื่อ 11 พฤษภาคม 2523)
114 2523 สัมภาษณ์พิเศษในโอกาสครบรอบ 48 ปี แห่งการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2523 ที่เมืองอองโตนี ชานกรุงปารีส โดยผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน,กรุงเทพ : เกษมการพิมพ์ ,2523
115 2523 “สำเนาคำฟ้อง (ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2523) เรื่องละเมิด หมิ่นประมาท ไขข่าว แพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง เป็นที่เสียหายแก่ชื่อเสียงและเกียรติคุณของโจทก์ ความแพ่งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ โดยนางสาวนวลจันทร์ ณ ป้อมเพชร์ ผู้รับมอบอำนาจโจทก์ กับกระทรวงศึกษาธิการ จำเลยที่ 1,ห้างหุ้นส่วนจำกัดบรรณกิจเทรดดิ้ง จำเลยที่ 2,”
116 2523 “คำขวัญสำหรับบัณทิต 22” ใน รอยยิ้มในวันนี้หนังสือบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2522, กรุงเทพ : เอราวัณการพิมพ์, 2523 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 7 ตุลาคม 2523)
117 2523 “ป้องกันภยันตรายจาก ‘กองกำลังที่ 5’ของพวกกระหายสงคราม” (คำชี้แจงประกอบคำขวัญสำหรับบัณฑิต 22) ใน รอยยิ้มในวันนี้ (ปรีดีเขียนลงวันที่ 7 ตุลาคม 2523)
118 2524 “จดหมายจากปารีสโต้นักบิดเบือนนักประวัติศาสตร์” ในนิตยสาร วิเคราะห์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 (19 – 25 กรกฎาคม 2524) (ปรีดีเขียนลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2524)
119 2524 คำขวัญของนายปรีดี พนมยงค์ ให้แก่บัณทิต 23 แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ม.ป.ท.,2524 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 1 สิงหาคม 2524)
120 2524 “ปรีดี พนมยงค์ หมายเหตุเรื่องมหาราช” ใน ข่าวจตุรัส ปีที่ 1 ฉบับที่ 20 (18 มกราคม 2525) (จดหมายจากปรีดีถึง ข่าวจตุรัส ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2524)
121 2525 “พิเคราะห์ศัพท์ “สังคม” “มนุษยสังคม” “ชาติ” “ปิตุภูมิ” “มาตุภูมิ” “รัฐ”.” ใน อนุสรณ์นายปาล พนมยงค์ กรุงเทพ : อมรินทร์การพิมพ์, 2525
122 2525 “พิทักษ์เอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ของชาติไว้ให้ได้ เป็นหน้าที่สูงสุดของคนไทยที่รักชาติ” ใน อนุสรณ์ นายปาล พนมยงค์
123 2525 “อาณานิคมแบบเก่ากับอาณานิคมแบบใหม่” ใน อนุสรณ์ นายปาล พนมยงค์
124 2525 “ภยันตรายจากอาชญากรสงคราม”ใน อนุสรณ์ นายปาล พนมยงค์
125 2525 “ภยันตรายจากบุคคลบางจำพวกที่หวัง ‘อาศัยร่ม’มหาอำนาจ ป้องกันสาตราวุธปรมาณู (นิวเคลียร์)”ใน อนุสรณ์ นายปาล พนมยงค์
126 2525 ประสบการณ์และความเห็นบางประการของรัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ อาจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภา สัมภาษณ์รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2525, กรุงเทพ : โครงการ “ปรีดี พนมยงค์ กับสังคมไทย”, 2525
127 2525 มหาราชและรัตนโกสินทร์, กรุงเทพ : โครงการ “ปรีดี พนมยงค์ กับสังคมไทย”, 2525
128 2525 “สุนทรพจน์ของปรีดี พนมยงค์ เรื่อง คณะราษฎรกับการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย 24 มิถุนายน” ใน กึ่งศตวรรษ ประชาธิปไตย (2475 – 2525), กรุงเทพ : โครงการกึ่งศตวรรษประชาธิปไตย,2525 (ปรีดีเขียนลงวันที่ 24 มิถุนายน 2525)
129 2525 “ชีวประวัติย่อของนายปรีดี พนมยงค์” (จนถึง 24 กรกฎาคม 2525), ปารีส : สิงหาคม 2525
130 2525 “A letter from Pridi in Paris” ใน Bangkok Post, November 24,1982.
131 2525 “บทความเรื่องของนายปรีดี พนมยงค์(ส่วนที่ 1) เกี่ยวกับ 24 มิถุนายน” ใน อนุสรณ์นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร วันที่ 28 พฤศจิกายน 2525, กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช, 2525
132 2525 “บทความบางเรื่องของนายปรีดี พนมยงค์ (ส่วนที่ 2) เกี่ยวกับ 24 มิถุนายน” ใน อนุสรณ์นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร
133 2525 “การก่อตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นและเสรีไทย” ใน อนุสรณ์นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร
134 2525 “ความหมายที่แท้จริงของสาส์นเชอร์ชิลล์ถึงนายกรัฐมนตรีไทย เวลาสายของวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2484”ใน อนุสรณ์นายปราโมทย์ พึ่งสุนทร
135 2526 “บันทึกฉบับ 5 มีนาคม 2526ของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องตอบคำถามบางประการของนิสิตนักศึกษา” วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับ 1 มีนาคม 2526